Finite & Non-finite Verb
คำกริยาแท้ ( Finite Verbs) และกริยาไม่แท้ ( Non-finite Verbs)
Finite Verbs ( คำกริยาแท้ ) ทำหน้าที่แสดงกริยาอาการที่แท้จริงของประธานในประโยคมีการเปลี่ยนรูปไปตาม Subject , Tense, Voice และ Mood เช่น
Subject
I go to school every day
He goes to school every day
They go to school every day
Tense
He goes to school every day
He went to school yesterday
He’s going to school tomorrow
Voice
Someone killed the snake. ( Active )
The snake was killed. ( Passive )
Mood
I recommend that he see a doctor.
(ไม่ใช่ 'he sees )
If I were you, I would not do it.
( ไม่ใช่ I was ) อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Infinitive without to
Infinitive without “to” คือกริยาช่องที่ 1 ที่ไม่มี to นำหน้า มีลักษณะการใช้คือ
1. ใช้ตามหลังกริยาช่วย (auxiliary verb) จำพวก can, could, do, did, may, shall, should, will, would, must, need, dare etc. เช่น
– You must come with us. (คุณจะต้องไปกับพวกเรา)
– Did you hear a noise? (คุณได้ยินเสียงนั่นหรือเปล่า)
– He daren’t leave her. (เขาไม่กล้าพอที่จะปล่อยเธอไป) อ่านเพิ่มเติม
1. ใช้ตามหลังกริยาช่วย (auxiliary verb) จำพวก can, could, do, did, may, shall, should, will, would, must, need, dare etc. เช่น
– You must come with us. (คุณจะต้องไปกับพวกเรา)
– Did you hear a noise? (คุณได้ยินเสียงนั่นหรือเปล่า)
– He daren’t leave her. (เขาไม่กล้าพอที่จะปล่อยเธอไป) อ่านเพิ่มเติม
Infinitive with to
หลักการใช้ Infinitive with to
1. แสดงความปรารถนา ขอร้อง หรือ คำสั่ง
Verb + to infinitive
เช่น He asked me to wash his car. (ขอร้อง)
2. แสดงวัตถุประสงค์ หรือ เหตุผล
เช่น She gets up early to see the sunrise. อ่านเพิ่มเติม
1. แสดงความปรารถนา ขอร้อง หรือ คำสั่ง
Verb + to infinitive
เช่น He asked me to wash his car. (ขอร้อง)
2. แสดงวัตถุประสงค์ หรือ เหตุผล
เช่น She gets up early to see the sunrise. อ่านเพิ่มเติม
Gerrund
หลักการใช้ Gerund (v-ing)
Gerund คือ คำกริยา + ing หรือ v-ing
Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct’ และ ‘คุณศัพท์’ ส่วน
gerund ทำหน้าที่เป็น ‘คำนาม’
เมื่อ gerund เป็น ‘คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้
1. ใช้เป็นประธานของประโยค
2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท อ่านเพิ่มเติม
Gerund คือ คำกริยา + ing หรือ v-ing
Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct’ และ ‘คุณศัพท์’ ส่วน
gerund ทำหน้าที่เป็น ‘คำนาม’
เมื่อ gerund เป็น ‘คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้
1. ใช้เป็นประธานของประโยค
2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท อ่านเพิ่มเติม
Purpose
การใช้ purpose คืออะไร
- การใช้เพื่อบอกวัตถุประสงค์นั่นเอง เพื่ออะไร และเป็นอย่างไร
1. to/in order to/so as to + V1 หมายถึง ใช้เพื่อที่จะทำอะไร.....
2. in order not to/so as not to + V1 หมายถึง เพื่อที่จะไม่...
3. in order that/so that + S + Vช่วย + V1 หมายถึงเพื่อที่จะทำอะไรกับทำอะไร
4. so + adj/adv + that + S + V = มากเสียจนกระทั่ง
5. too + adj/adv + to + V1 =มากเกินไปที่จะ...อ่านเพิ่มเติม
- การใช้เพื่อบอกวัตถุประสงค์นั่นเอง เพื่ออะไร และเป็นอย่างไร
1. to/in order to/so as to + V1 หมายถึง ใช้เพื่อที่จะทำอะไร.....
2. in order not to/so as not to + V1 หมายถึง เพื่อที่จะไม่...
3. in order that/so that + S + Vช่วย + V1 หมายถึงเพื่อที่จะทำอะไรกับทำอะไร
4. so + adj/adv + that + S + V = มากเสียจนกระทั่ง
5. too + adj/adv + to + V1 =มากเกินไปที่จะ...อ่านเพิ่มเติม
Condition
English : หลักการใช้ Conditional Sentences.
ไปเรียน ภาษามามา คราวนี้ก็กลับมาอ่าน ทบทวน เลยอยากจะเก็บไว้บน Blog ด้วยเหมือนกันกลัวว่า วันหนึ่งจะลืม สำหรับวันนี้ก็จะมาพูดถึงหลักการใช้ Conditional Sentences ซึ่งถ้าพูดถึงการใช้ Conditional Sentences นั้น สิ่งที่เราจะต้องใช้ ทุกๆ ครั้งก็คือ IF ซึ่งหลักก อ่านเพิ่มเติม
ไปเรียน ภาษามามา คราวนี้ก็กลับมาอ่าน ทบทวน เลยอยากจะเก็บไว้บน Blog ด้วยเหมือนกันกลัวว่า วันหนึ่งจะลืม สำหรับวันนี้ก็จะมาพูดถึงหลักการใช้ Conditional Sentences ซึ่งถ้าพูดถึงการใช้ Conditional Sentences นั้น สิ่งที่เราจะต้องใช้ ทุกๆ ครั้งก็คือ IF ซึ่งหลักก อ่านเพิ่มเติม
Contrast
contrast (คอน-ทราสทฺ) หมายถึง “การขัดแย้งกัน” กล่าวคือ ข้อความหนึ่งขัดแย้งกับอีกข้อความหนึ่ง ดังนี้
หลักการใช้
1. but/yet (แต่) ใช้เชื่อมข้อความแรก กับข้อความหลังที่แย้งกัน เข้าด้วยกันเป็นประโยคเดียว
ตัวอย่าง
This week the weather is good, but last week it was bad.
สัปดาห์นี้อากาศดี แต่สัปดาห์ที่แล้วอากาศไม่ดี
Somsri’s husband is ugly, yet she loves him.
สามีของสมศรีหน้าตาน่าเกลียด แต่เธอก็รักเขา อ่านเพิ่มเติม
หลักการใช้
1. but/yet (แต่) ใช้เชื่อมข้อความแรก กับข้อความหลังที่แย้งกัน เข้าด้วยกันเป็นประโยคเดียว
ตัวอย่าง
This week the weather is good, but last week it was bad.
สัปดาห์นี้อากาศดี แต่สัปดาห์ที่แล้วอากาศไม่ดี
Somsri’s husband is ugly, yet she loves him.
สามีของสมศรีหน้าตาน่าเกลียด แต่เธอก็รักเขา อ่านเพิ่มเติม
Reasoncause
What is the difference between Cause and Reason? :
Cause : (noun)
( 1 ) That which produces an effect, thing, event, person, etc…make something happen
What was the cause of the fire?
Smoking is one of the cau อ่านเพิ่มเติม
Cause : (noun)
( 1 ) That which produces an effect, thing, event, person, etc…make something happen
What was the cause of the fire?
Smoking is one of the cau อ่านเพิ่มเติม
Past simple
หลักการใช้
Past Simple Tense ถือว่าง่ายที่สุดเลยเพราะประธานทุกตัวใช้กริยาช่องสองเหมือนกัน (เว้น was ใช้กับประธานเอกพจน์, were ใช้กับประธานพหูพจน์) ให้จำหลักสำคัญของ Tense นี้ไว้ว่า เป็นการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต และก็จบลงไปแล้วด้วย ไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบัน
1. ใช้เล่าเหตุการณ์ในอดีต ที่จะระบุเวล อ่านเพิ่มเติม
Past Simple Tense ถือว่าง่ายที่สุดเลยเพราะประธานทุกตัวใช้กริยาช่องสองเหมือนกัน (เว้น was ใช้กับประธานเอกพจน์, were ใช้กับประธานพหูพจน์) ให้จำหลักสำคัญของ Tense นี้ไว้ว่า เป็นการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต และก็จบลงไปแล้วด้วย ไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบัน
1. ใช้เล่าเหตุการณ์ในอดีต ที่จะระบุเวล อ่านเพิ่มเติม
Continuous
หลักการใช้ Present Continuous Tense
1.ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่ กำลังดำเนินอยู่ในขณะที่พูด ต่อเนื่องไปเรื่อยๆและจบในอนาคต โดยอาจจะใช้ Adverbs of Time (คำกริยาวิเศษณ์บอกเวลา) บางคำ เช่น now, at the moment, right now, at present, these days เป็นต้น เข้ามาช่วยในประโยคด้วย เช่น
She is going to the supermarket at the moment.
(หล่อนกำลังไปซุปเปอร์มาร์เกตอยู่ตอนนี้)
2.ใช้เพื่อพูดถึงเหตุการณ์หรื อ่านเพิ่มเติม
1.ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่ กำลังดำเนินอยู่ในขณะที่พูด ต่อเนื่องไปเรื่อยๆและจบในอนาคต โดยอาจจะใช้ Adverbs of Time (คำกริยาวิเศษณ์บอกเวลา) บางคำ เช่น now, at the moment, right now, at present, these days เป็นต้น เข้ามาช่วยในประโยคด้วย เช่น
She is going to the supermarket at the moment.
(หล่อนกำลังไปซุปเปอร์มาร์เกตอยู่ตอนนี้)
2.ใช้เพื่อพูดถึงเหตุการณ์หรื อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Non finite verbs
Finite & Non-finite Verb คำกริยาแท้ ( Finite Verbs) และกริยาไม่แท้ ( Non-finite Verbs) Finite Verbs ( คำกริยาแท้ ) ทำหน้าที่แสดงกริย...

-
หลักการใช้ Infinitive with to 1. แสดงความปรารถนา ขอร้อง หรือ คำสั่ง Verb + to infinitive เช่น He asked me to wash his...
-
Infinitive without “to” คือกริยาช่องที่ 1 ที่ไม่มี to นำหน้า มีลักษณะการใช้คือ 1. ใช้ตามหลังกริยาช่วย (auxiliary verb) จำพวก can, co...
-
การใช้ purpose คืออะไร - การใช้เพื่อบอกวัตถุประสงค์นั่นเอง เพื่ออะไร และเป็นอย่างไร 1. to/in order to/so as to + V1 หมายถึง ใช้เพื่อที่จะ...